เช็คอินสะสม: 4765 วัน
เช็คอินต่อเนื่อง: 1 วัน

1370

กระทู้

2 หมื่น

โพสต์

34 หมื่น

เครดิต

Level.27

Rank: 27Rank: 27Rank: 27Rank: 27Rank: 27Rank: 27Rank: 27Rank: 27

เครดิต
347944

ความคืบหน้าการอัพเกรด: 48%

ทำไม…การหารจึงใช้เครื่องหมาย ÷
สัญลักษณ์ ÷ ได้ถูกนำมาใช้โดย จอห์น วอลลิส (John Wallis 1616 – 1703 )ในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา แต่ไม่แพร่หลายในทวีปยุโรปเพราะใช้เครื่องหมายโครอน ( : ) กันจนชินแล้ว

ในปี 1923 คณะกรรมการแห่งชาติเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ในสหรัฐอเมริกากล่าวว่าเครื่องหมายหาร (÷) และเครื่องหมายโครอน ( : ) ไม่ได้ถูกนำมาใช้ในชีวิตธุรกิจแต่ใช้ในวิชาพีชคณิตเท่านั้น จึงได้มีการนำเครื่องหมายเศษส่วน ( / ) มาใช้แทนเครื่องหมายหาร(÷)
อ้างอิงจากรายงาน National Committee on MathematicalRequirement ของ Mathematical Association ofAmerica,Inc(1923,P 81 )


เครื่องหมายคูณ มีกี่แบบ

คำว่า Multiply มาจากคำว่า Multiplicareเป็นภาษาละติน ซึ่ง หมายถึง การมีค่าเพิ่มมากขึ้นเป็นทวีคูณนักคณิตศษสตร์ Oughtred เป็นคนคิดเครื่องหมายคูณเป็นรูป xในปี1631 ต่อมา Harriot แนะนำให้ใช้เครื่องหมายจุด. ในปีเดียวกัน
ในปี ค.ศ. 1698 Leibniz เขียนถึงBernoulli ว่า “ ฉันใช้ x เป็นสัญลักษณ์ในการคูณ มันสับสนกับตัวX บ่อยครั้ง ฉันจึงใช้สัญลักษณ์ง่ายๆคือ . (จุด) ”
ปัจจุบันนี้การคูณใช้เครื่องหมาย 3 แบบได้แก่ 3xaหรือ 3.a หรือ (3)a หรือการวางชิดกันคือ3a

ทำไม…การบวกจึงใช้เครื่องหมาย +
ว่าบวกมาจากภาษาละตินว่า adhere ซึ่งหมายความว่า “ ใส่เข้าไป ” Widman เป็นคนแรกที่คิดใช้เครื่องหมาย “+ ” และ “ -
ในปี 1489 เขากล่าวว่า - คือ minus และ + คือ more เชื่อกันว่าสัญลักษณ์“ + ” มาจากภาษาละติน et แปลว่า“ และ ”
ที่มา : ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็กคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
ขอขอบคุณที่นี่, จิ่มจุ่ม

ขออภัย! โพสต์นี้มีไฟล์แนบหรือรูปภาพที่ไม่ได้รับอนุญาตให้คุณเข้าถึง

คุณจำเป็นต้อง เข้าสู่ระบบ เพื่อดาวน์โหลดหรือดูไฟล์แนบนี้ คุณยังไม่มีบัญชีใช่ไหม? สมัครสมาชิก

x
กระทู้ตอบกลับ
โพสต์ใหม่ขึ้นก่อน

315ดู1ตอบกลับ

เช็คอินสะสม: 1685 วัน
เช็คอินต่อเนื่อง: 1 วัน

165

กระทู้

1 หมื่น

โพสต์

12 หมื่น

เครดิต

Level.25

Rank: 25Rank: 25Rank: 25Rank: 25Rank: 25Rank: 25Rank: 25

เครดิต
122463

ความคืบหน้าการอัพเกรด: 22%

gangk 2014-3-27 18:11:17
ขอบคุณมากครับ
ตั้งกระทู้ใหม่
สำหรับคนที่ขี้เกียจพิมพ์
คุณจำเป็นต้องเข้าสู่ระบบก่อนที่จะตอบกลับ เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

รายละเอียดเครดิต

ปิด

€ KuKaSaNg.Net ™ก่อนหน้า /3 ต่อไป

Copyright © 2011-2025 Kulasang.net. All Rights Reserved.